รูปส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสำคัญ 5 หน่วย คือ
1. หน่วยรับข้อมูล ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในหน่วยความจำำแล้วนำำมา ประมวลผล
หรือเก็บไว้ในหน่วยความจำำรอง
2. หน่วยความจำำหลักเป็นหน่วยสำำหรับเก็บข้อมูลและซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ
ประมวลผลซึ่งหน่วยประมวลผลกลางสามารถอ่านเขียนจากหน่วยความจำำหลักรวดเร็วมาก
ทำำให้หน่วยประมวลผลกลางนำมาตีความและกระทำำตามได้อย่างรวดเร็ว
3. หน่วยประมวลผลกลาง ทำำหน้าที่ในการคิดคำำนวณหรือประมวลผลข้อมูล โดยทำตามโปรแกรมที่เก็บไว้ในหน่วยความจำำหลัก 4. หน่วยส่งออก เป็นหน่วยที่นำำข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้วมาแสดงผล
หรือเก็บไว้ในหน่วยความจำำรอง
5. หน่วยความจำำรอง มีไว้สำำหรับเก็บข้อมูลหรือซอฟต์แวร์ที่มีจำำนวนมาก
และต้องการนำำมาใช้อีกในภายหลังหากจะใช้งานก็มีการโอนถ่ายจากหน่วย
ความจำำรองมายังหน่วยความจำำหลัก
หน่วยรับข้อมูล
จากรูปแบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยรับเข้าเป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูล
หรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก
และใช้ในการประมวลผล
อุปกรณ์รับข้อมูลมหลายประเภท
1. แผงแป้นอักขระ (keyboard) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูล
โดยรับข้อมูลจากการกดแป้นบนแผงแป้นอักขระแล้วส่งรหัสให้กับคอมพิวเตอร์
แผงแป้นอักขระมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในขณะนี้มีจำนวนแป้น 103 แป้น
ถึงแม้จะมีจำนวนแป้นมากแล้ว แต่การป้อนข้อมูลก็ยังมีตัวยกแคร่ (shift)
สำหรับใช้ควบคู่กับตัวอักษรอื่น เช่น กดแป้น shift เพื่อเลือกตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก
หรือตัวใหญ่
แผงแป้นอักขระที่ใช้ในประเทศไทยสามารถใช้พิมพ์ตัวอักษรภาษาไทยได้
การที่รับข้อมูลภาษาไทยได้เนื่องจากมการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้ทำงานภาษาไทยได้
2. เมาส์ (mouse) แทร็กบอล (trackball) และก้านควบคุม (joystick)
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จะเน้นให้ผู้ใช้ใช้งานได้ง่าย
จึงมีการพัฒนาอุปกรณ์รับเข้าที่เหมาะสมกับโปรแกรม เช่น เมาส์ แทร็กบอล
และก้านควบคุม ซึ่งสามารถเลื่อนตัวชี้ไปบนจอแล้วเลือกสิ่งที่ต้องการได้
-
เมาส์
เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่สามารถเลื่อนตัวชี้ไปยังตำำแหน่งที่
ต้องการบนจอภาพมีลักษณะเป็นปุ่มกดครอบอยู่กับลูกกลมที่เมื่อลาก
ไปกับพื้นแล้ว
จะมีการส่งสัญญาณตามแนวแกน x และแกน y
เข้าสู่คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันเมาส์มีหลายรูปแบบให้ผู้ใช้สามารถเลือก
ได้ตามความต้องการ
- แทร็กบอลคือลูกกลมที่กลิ้งไปมาวางอยู่ในเบ้าผู้ใช้สามารถ
บังคับลูกกลมให้หมุนไปมาเพื่อควบคุมการทำงานของตัวชี้บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน
มีการสร้างแทรกบอลไว้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊ค
เพราะสะดวกต่อการใช้
และใช้พื้นที่น้อย
- ก้านควบคุมมีลักษณะเป็นก้านโยกซึ่งโยกได้หลายทิศทางขณะที่โยกก้านไปมาตำำแหน่ง
ของตัวชี้จะเปลี่ยนไปด้วย
ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
ก้านควบคุมมักเป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้กันมากในการเล่นเกม
3. เครื่องกราดตรวจ (scanner) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยี
ของการผ่านแสง เพื่อทำการอ่านรหัสสัญลักษณ์ หรือรูปภาพ แล้วให้คอมพิวเตอร์นำำ
ไปประมวลผลต่อเครื่องกราดตรวจช่วยให้การรับข้อมูลทำได้รวดเร็วกว่าการกดแป้นบนแผงแป้น
อักขระอีกทั้งยังลดข้อผิดพลาดอันอาจเกิดจากการกดแป้นอีกด้วยเครื่องกราดตรวจที่นิยมใช้กัน
อยู่ทั่วๆ ไปได้แก่
-เครื่องกราดตรวจรายหน้า (page scanner)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านรูปภาพหรือตัวหนังสือ
เช่น
รูปถ่าย และ สัญลักษณ์ต่างๆ เป็นต้น
- เครื่องอ่านรหัสแท่ง (barcode reader )
เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่ใช้สำหรับอ่านรหัสแท่ง
(bar code) ซึ่งเป็นแถบเส้นที่ประกอบด้วยเส้นขนาด
แตกต่างกันใช้แทนรหัสข้อมูลต่างๆการอ่านจะใช้แสงส่อง
แถบเส้นทำให้เกิดการสะท้อนเพื่อรับรหัสเข้ามาตีความหาย
ปัจจุบันนิยมใช้ในห้างสรรพสินค้า สินค้าทุกชนิดจะติดรหัสแท่งไว้ ผู้ขายใช้เครื่องอ่านรหัสแท่ง
เพื่อจะได้ทราบว่าเป็นรหัสของสินค้าใดราคาเท่าใดและสามารถออกใบเสร็จรับเงิน
ให้ได้อย่างอัตโนมัติ
- เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก (Magnetic-Ink Character
Recognition:
MICR) ที่พบเห็นได้บ่อยครั้งคือเครื่องอ่านตัวเลขที่พิมพ์อยู่บนตั๋วสัญญาใช้เงิน
ตัวเลขเหล่านี้มีลักษณะพิเศษที่ทำให้เครื่องอ่านได้
เนื่องจากแต่ละวันธนาคารต้องรับและออก
ตั๋วสัญญาใช้เงินเป็นจำำนวนมากจึงมีการใช้เครื่องอ่านตัวเลขช่วยในการอ่านหรือเครื่องอ่าน
ตัวเลขที่สำำนักงาน
ไปรษณีย์ใช้เพื่อช่วยแยกจดหมายตามรหัสไปรษณีย์
- จอสัมผัส (touch screen) สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก
จอภาพสามารถรับข้อมูลไปประมวลผลได้โดยการสัมผัสบนบริเวณจอภาพบริเวณจอภาพ
ของจอสัมผัสประกอบด้วยตาข่ายของลำแสงอินฟาเรดเมื่อมีวัตถุมาสัมผัสบนจอภาพจะมีการส่ง
สัญญาณไฟฟ้าซึ่งสามารถระบุตำแหน่งบนจอภาพให้กับโปรแกรมที่กำลังทำงานอยู่ได้
การใช้งานจอสัมผัสมีความสะดวก แต่อาจผิดพลาดจากการระบุตำแหน่งบนจอภาพ
ถ้าตำแหน่งบนจอภาพมีขนาดเล็กเกินไป จอสัมผัสประยุกต์ใช้กับงานหลายอย่าง เช่น
การจองตั๋วชมภาพยนตร์ การจองที่นั่งเพื่อรับประทานอาหาร
- กล้องถ่ายภาพดิจิตรอน
สามารถถ่ายภาพและบันทึกไว้ในหน่วยความจำภายใน
ตัวกล้อง
จากนั้นสามารถส่งข้อมูลภาพเข้าสู่คอมพิวเตอร์ได้อุปกรณ์รับเข้ายังมีอีกหลายชนิดตาม
พัฒนาการทางเทคโนโลยี ทั้งนี้เพื่อให้การรับข้อมูลเข้าระบบทำได้สะดวก แม่นยำำ
และสามารถนำไปใช้งานได้ดี ดังตัวอย่างเช่น พนักงานการไฟฟ้า ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
ขนาดมือถือบันทึกข้อมูลการใช้ไฟที่อ่านจากมิเตอร์ตามบ้านการตรวจข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย
ก็ใช้เครื่องอ่านข้อมูลคำำตอบของนักเรียน แล้วตรวจให้คะแนนอย่างอัตโนมัติ
การลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาบางมหาวิทยาลัยก็ใช้ระบบระบายดินสอดำำลงบนกระดาษ
ตามช่องที่กำำหนดเพื่อให้เครื่องอ่านได้ และนำำไปประมวลผลต่อไป
หน่วยความจำำหลัก
มีหน้าที่เป็นแหล่งเก็บข้อมูลการทำำงานของคอมพิวเตอร์
ซึ่งรวมทั้งตัวคำำสั่งในโปรแกรม
และข้อมูลต่างๆ
ที่จะใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะกำำลังทำำงานอยู่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ดังนี้
1. แรม (Random Access Memory : RAM)
เป็นหน่วยความจำำที่เก็บข้อมูลสำำหรับใช้งานทั่วไป การอ้างอิงตำำแหน่งที่อยู่ของข้อมูลใดๆ
เพื่อการเขียนและการอ่านจะกระทำำแบบการเข้าถึงโดยสุ่มคือ
เรียกไปที่ตำำแหน่งที่อยู่ข้อมูลใดก็ได้ หน่วยความจำำนี้เรียกว่า แรม หน่วยความจำำประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่มีกระแส
ไฟฟ้ายังจ่ายให้วงจร หากไฟฟ้าดับเมื่อใด ข้อมูลก็จะสูญหายทันที
เครื่องพีซีคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้ ถ้ามีหน่วยความจำำแรมมากๆ
จะทำำให้สามารถใช้งานโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่ๆ ได้ดีด้วย
หน่วยความจำำที่นิยมในปัจจุบัน
จะประมาณ 32, 64, 128, 256 เมกะไบต์
เป็นต้น
2. รอม (Read Only Memory : ROM)
เป็นหน่วยความจำำอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิงตำแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึงโดย
สุ่มหน่วยความจำำประเภทนี้มีไว้เพื่อบรรจุโปรแกรมสำคัญบางอย่าง เพื่อว่าเมื่อเปิดเครื่องมา
ซีพียูจะเริ่มต้นทำำงานได้ทันทีข้อมูลหรือโปรแกรมที่เก็บไว้ในรอมจะถูกบันทึกมาก่อนแล้ว
ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลได้ แต่ไม่สามารถเขียนข้อมูลใดๆ
ลงไปได้ซึ่งข้อมูลหรือโปรแกรม
ที่อยู่ในรอมนี้จะอยู่อย่างถาวร แม้จะปิดเครื่องข้อมูลหรือโปรแกรมก็จะไม่ถูกลบไป
ไมโครคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องอาจมีขนาดของหน่วยความจำำหลักแตกต่างกันตามแต่ความต้องการ ปัจจุบันเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำำที่มีความจุมากขึ้น
เพื่อให้สามารถบรรจุโปรแกรมขนาดใหญ่ได้
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู(CPU:Central
ProcessingUnit)เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าโปรเซสเซอร์
(Processor)
หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์
ที่มีความสำคัญมากที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอร์์เพราะมีหน้าที่
เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ที่สามารถควบคุมการทำำงานของ
คอมพิวเตอร์
คำำนวณ เปรียบเทียบ ตัดสินใจ หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วน
ประสำำคัญ 3 ส่วน คือ
1. หน่วยคำำนวณและตรรกะ (Arithmetic
& Logical Unit :
ALU)หน่วยคำำนวณตรรกะทำำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคำนวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยทำำงานเกี่ยวข้องกับการคำำนวณทางคณิตศาสตร์
เช่น บวก ลบ คูณ หาร
นอกจากนี้หน่วยคำำนวณและตรรกะของคอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่
เครื่องคำำนวณธรรมดาไม่มี
คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง
ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข
และกฏเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์
เพื่อให้ได้คำำตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ
เท็จ เช่น เปรียบเทียบมากว่า
น้อยกว่า เท่ากัน ไม่เท่ากัน ของจำำนวน 2 จำำนวน
เป็นต้น ซึ่งการเปรียบเทียบนี้มักจะ
ใช้ในการเลือกทำำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
จะทำำตามคำำสั่งใดของโปรแกรมเป็น
คําำสั่งต่อไป
2. หน่วยควบคุม (Control
Unit)
หน่วยควบคุมทำำหน้าที่คงบคุมลำำดับขั้นตอนการการประมวลผลและการทำำงาน
ของอุปกรณ์ต่างๆภายในหน่วยประมวลผลกลางและรวมไปถึงการประสานงานในการทำำงาน
ร่วมกันระหว่างหน่วยประมวลผลกลางกับอุปกรณ์นำำเข้าข้อมูลอุปกรณ์แสดงผลและหน่วยความจำำ
สำำรองด้วยเมื่อผู้ใช้ต้องการประมวลผลตามชุดคำำสั่งใดผู้ใช้จะต้องส่งข้อมูลและชุดคำำสั่งนั้นๆเข้า
สู่ระบบคอมพิวเตอร์เสียก่อนโดยข้อมูลและชุดคำำสั่งดังกล่าวจะถูกนำำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำำ
หลักก่อนจากนั้นหน่วยควบคุมจะดึงคำำสั่งจากชุดคำำสั่งที่มีอยู่ในหน่วยความจำำหลักออกมาทีละคำำสั่ง
เพื่อทำำการแปลความหมายว่าคำำสั่งดังกล่าวสั่งให้ฮาร์ดแวร์ส่วนใดทำำงานอะไรกับข้อมูลตัวใดเมื่อ
ทราบความหมายของ
คำำสั่งนั้นแล้ว หน่วยควบคุมก็จะส่ง สัญญาณคำำสั่งไปยังฮาร์แวร์
ส่วนที่ทำำหน้าที่
ในการประมวลผลดังกล่าวให้ทำำตามคำำสั่งนั้นๆเช่น ถ้าคำำสั่งที่เข้ามานั้นเป็น
คำำสั่งเกี่ยวกับการคำำนวณหน่วยควบคุมจะส่งสัญญาณคำำสั่งไปยังหน่วยคำำนวณและตรรกะให้
ทำำงานหน่วยคำำนวณและตรรกะก็จะไปทำการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำำหลักเข้ามาประมวลผล
ตามคำำสั่งแล้วนำำผลลัพธ์ที่ได้ไปแสดงยังอุปกรณ์แสดงผลหน่วยควบคุมจึงจะส่งสัญญาณคำำสั่ง
ไปยังอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่กำหนดให้ดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลักออกไปแสดงให้เห็นผลลัพธ์
ดังกล่าว
อีกต่อหนึ่ง
3. หน่วยความจำำหลัก (Main
Memory)
คอมพิวเตอร์จะสามารถทำำงานได้เมื่อมีข้อมูลและชุดคำำสั่งที่ใช้ในการประมวลผล
อยู่ในหน่วยความจำำหลักเรียบร้อยแล้วเท่านั้นและหลักจากทำำการประมวลผลข้อมูลตามชุดคำำสั่ง
เรียบร้อบแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำำำำำำำำหลักและก่อนจะถูกนำำออกไปแสดงที่
อุปกรณ์แสดงผลถ้าเปรียบเทียบกับร่างกายของมนุษย์โพรเซสเซอร์ก็น่าจะเปรียบเทียบเป็น
เหมือนสมองของมนุษย์นั่งเอง
ซึ่งคอยคิดควบคุมการทำำงานส่วนต่างๆของร่างกายดังนั้น
ถ้าจัดระดับความสำำคัญแล้วโพรเซสเซอร์ก็น่าจะมีความสำำคัญเป็นอันดับแรก
หน่วยส่งออก
หน่วยส่งออก
(Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผล
โดยนำำผลที่ได้ออกมาจากหน่วนความจำหลักแสดงให้ผูใช้ได้รับรู้โดยประสาทสัมผัสต่างๆ เช่น
ตา หู หรือแม้กระทั่งการสัมผัสด้วยมือก็ได้ อุปกรณืต่างๆ
เหล่านี้ได้แก่
1. จอภาพ (monitor)
มีลักษณะเป็นจอภาพเหมือน
จอโทรทัศน์ทั่วไป
การส่งออกของข้อมูลจะปรากฏบนจอภาพ
ซึ่งแสดงได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข
เครื่องหมายพิเศษ
และยังสามารถแสดงรูปภาพได้ด้วย จอภาพ มี 2 แบบคือ
ซีอาร์ที (Cathode
Ray Tube : CRT) ใช้เทคโนโลยี
ของหลอดรังสีอิเล็กตรอนเช่นเดียวกับจอโทรทัศน์ในการทำให้เกิดภาพ และจอแบบแอลซีดี (Liquid Crystral
Display : LCD)ใช้เทคโนโลยีของการบรรจุของเหลวไว้ภายในจอเช่น
เดียวกับหน้าปัดนาฬิกาในระบบตัวเลขการแสดงผลบนจอภาพจะแสดงด้วยจุดเล็กๆตามแนวนอน
และแนวตั้งแต่เดิมจอภาพแสดงผลได้เพียงสีเดียวพัฒนาการต่อมาทำให้การแสดงผลเป็นสีหลายสี
ได้นอกจากนี้ยังมีความละเอียดมากขึ้นเช่นจอภาพที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันแสดงผล
ในภาวะกราฟิกได้อย่างน้อยในแนวนอน 800 จุด ในแนวตั้ง 600 จุด
และแสดงสีได้ถึง
ล้านสีขนาดของจอภาพจะวัดความยาวตามเส้นทแยงมุมจอภาพโดยทั่วไปจะมีขนาด
15 นิ้ว หรือ
17 นิ้ว
การแสดงผลของจอภาพควบคุมโดยแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งอยู่ภายในเครื่อง
คอมพิวเตอร์
2. เครื่องพิมพ์ (printer) เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภทตามเทคโนโลยี
การพิมพ์เครื่องพิมพ์เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่พิมพ์ลงบนกระดาษเครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์
มีดังนี้
- เครื่องพิมพ์แบบจุด
(dot matrix printer)
เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีหัวยิงเป็นเข็มขนาดเล็ก
พุ่งไปชนแผ่นผ้าหมึก
เพื่อให้หมึกติดบนกระดาษเป็นจุดเล็กๆหลายๆจุดเรียงกันเป็นตัวหนังสือ
หรือรูปภาพหัวเข็มที่ใช้ยิงไปยังผ้าหมึกมีจำนวนหลายหัว
โดยปกติใช้ขนาด 24 หัวเข็มซึ่งจัดวางเรียงกันในแนวตั้งทำำให้ได้ตัวหนังสือที่ละเอียดพอควร
- เครื่องพิมพ์เลเซอร์
(laser printer)
เป็นเครื่องพิมพ์ที่ให้ความคมชัดและความละเอียดสูงการพิมพ์จะใช้หลักการ
ทางแสงปกติมีความละเอียดไม่น้อยกว่า
600 จุดต่อนิ้วเครื่องพิมพ์เลเซอร์
จึงเป็นเครื่องพิมพ์ที่เหมาะกับงานพิมพ์ที่ต้องการคุณภาพพัฒนาการทางเทคโนโลยีทำำให้เครื่อง
พิมพ์ชนิดนี้ได้รับความนิยมสูงขึ้นเพราะเมื่อเทียบประสิทธิภาพต่อราคาแล้วเครื่องพิมพ์ชนิดนี้
เหมาะที่จะใช้ในสำำำนักงานแต่ไม่สามารถพิมพ์สำเนากระดาษคาร์บอนได้
- เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก
(inkjet printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีการพ่นหมึก
และผสมสีจากแม่สีสามสีคือแดง
เหลืองและน้ำเงิน โดยจะผสมสีให้ได้สีตามความต้องการและ
พ่นหมึกเพื่อให้ติดบนกระดาษ
ในปัจจุบันเครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึกเป็นที่นิยมกันมาก เนื่องจากสามารถพิมพ์รูปภาพออกมาเป็นสีที่สวยงาม
3. ลำำโพง (Speaker)
ลำำโพงทำำหน้าที่แสดงผลออกมาในรูปแบบเสียงซึ่งจะทำำงานรวมกับ
อุปกรณ์การ์ดเสียง(Sound
Card)ที่ทำำหน้าที่แปลงสัญญาณ
คอมพิวเตอร์ออกมาเป็นสัญญาณเสียงแล้วส่งออกทางลำำำโพง
ส่วนมากใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีระบบมัลติมีเดีย
หน่วยความจำำรอง
หน่วยความจำำรองหรือหน่วยเก็บข้อมูล (Storage) มีหน้าที่ในการเก็บ
ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ไว้
และสามารถนำำกลับมาใช้งานได้อีกตามต้องการ บางครั้งเรียกว่า
หน่วยความจำำสำรอง (Secondary
Memory) ประกอบด้วย
1. แผ่นบันทึก (floppy disk
หรือ diskette)
ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มีเครื่องขับแผ่นบันทึกอย่างน้อยหนึ่งตัวแผ่นบันทึกที่ใช้ในปัจจุบัน
มีขนาด 3.5 นิ้ว
ตัวแผ่นบันทึกเป็นแผ่นบางฉาบผิวด้วยสารแม่เหล็กอยู่ในกรอบพลาสติก
แข็ง
เพื่อป้องกันการขีดข่วน
การเก็บข้อมูลจะทำโดยบันทึกลงไปที่ผิวของแผ่น ปกติใช้ได้ทั้งสองด้าน
หัวอ่านของเครื่องขับจึงมีสองหัว แผ่นจะหมุนด้วยความเร็วคงที่
หัวอ่านวิ่งเข้าออกเพื่ออ่านข้อมูล
ในตำแหน่งที่อยู่ที่ต้องการ
ผิวที่ใช้เก็บข้อมูลจะแบ่งเป็นวงเรียกว่า แทร็ก (track) แต่ละ
แทร็กจะแบ่งเป็นช่องเก็บข้อมูลเรียกว่า
เซกเตอร์ (sector) แผ่นบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว
มีความจุ 1.44
เมกะไบต์
2.
ฮาร์ดดิสก์ (harddisk) จะประกอบด้วยแผ่นบันทึกแบบแข็งที่เคลือบสารแม่เหล็ก
หลายแผ่นเรียงซ้อนกัน
หัวอ่านของเครื่องขับจะมีหลายหัว ในขณะที่แผ่นบันทึกแต่ละแผ่นหมุน หัวอ่านจะเคลื่อนที่เข้าออก เพื่ออ่านข้อมูลที่เก็บบนพื้นผิวแผ่น การเก็บข้อมูลในแต่ละแผ่นจะเป็นวง
เรียกแต่ละวงของทุกแผ่นว่าไซลินเดอร์
(cylinder) แต่ละไซลินเดอร์จะแบ่งเป็นเซกเตอร์ แต่ละเซกเตอร์เก็บข้อมูลเป็นชุดๆ
ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีความจุสูงมาก ขนาดของฮาร์ดดิสก์มีความจุเป็นกิกะไบต์ เช่น ฮาร์ดดิสก์ความจุ 15 กิกะไบต์ การเขียนอ่านข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์จะกระทำเป็น
เซกเตอร์ และเขียนอ่านได้เร็วมาก เวลาที่ใช้ในการวัดการเข้าถึงข้อมูลมีหน่วยเป็นมิลลิวินาที
3. เทปแม่เหล็ก (magnetic tape) เป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้กันมานานแล้ว
ลักษณะของเทปเป็นแถบสายพลาสติก เคลือบด้วยสารแม่เหล็กเหมือนเทปบันทึกเสียง เทปแม่เหล็กใช้สำหรับเก็บข้อมูลจำนวนมาก มีการจัดเก็บและเรียกค้นข้อมูลแบบเป็น ลำำดับ เพราะฉะนั้นการเข้าถึงก็จะเป็นแบบการเข้าถึงโดยลำดับ (sequential access) เช่น ถ้าต้องการหาข้อมูลที่อยู่ในลำดับที่ 5 บนเทป เราจะต้องอ่านข้อมูลลำดับต้นๆ ก่อนจนถึงข้อมูลที่เราต้องการ ส่วนการประยุกต์นั้นเน้นสำหรับใช้สำรองข้อมูลเพื่อ ความมั่นใจเช่น ถ้าฮาร์ดดิสก์เสียหาย ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์อาจสูญหายได้ จึงจำำเป็นต้องเก็บสำรองข้อมูลไว้ มูลไว้
4. แผ่นซีดี (Compact Disk : CD )
วิวัฒนาการของการใช้หน่วยความจำรองได้ก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับปัจจุบันได้มีการประดิษฐ์แผ่น
ซีดีใช้ในการเก็บข้อมูลจำนวนมากการเก็บข้อมูลบนแผ่นซีดีใช้หลักการทางแสงแผ่นซีดีที่อ่านได้
อย่างเดียว เรียกกันว่า ซีดีรอม(CD- ROM) ข้อมูลที่บันทึกจะถูกบันทึกมาจากโรงงานผู้ผลิต
เหมือนการบันทึกเพลงหรือภาพยนตร์ข้อเด่นของแผ่นซีดีคือ ราคาถูกจุข้อมูลได้มากสามารถเก็บ
ข้อมูลหรือโปรแกรมได้มากกว่า 750 เมกะไบต์ต่อแผ่นแผ่นซีดีมีเส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ5 นิ้ว ในปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตแผ่นซีดีได้ก้าวหน้าขึ้นจนสามารถเขียนข้อมูล
บนแผ่นซีดีได้เหมือนฮาร์ดดิสก์เรียกว่า ออปติคัลดิสก์ (optical disk)
เรียกว่า ออปติคัลดิสก์ (optical disk)
ที่มา:http://www.thaigoodview.com/roomnet/roomnet46/IT46_4/index.html-overview.htm
: http://www.student.chula.ac.th/~48438517/1_2.html
: http://std.kku.ac.th/4830503191/3-5.html
: http://thaiup.mine.nu/modules.php?name=News&file=article&sid=23
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น